Framework Management Tool Box: Planning
9. Product Life Cycle
1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
แนวคิดเกี่ยวกับวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์เป็นความพยายามในการอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ยอด
ขาย กำไร ลูกค้า และคู่แข่งขัน ตลอดระยะเวลาของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์นั้น
ความรู้และความเข้าใจในลักษณะของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ของนักการตลาด
จะช่วยให้กิจการสามารถพัฒนาส่วนประสมการตลาดได้ถูกต้อง
2. เครื่องมือนี้คือ วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์(PLC) เป็นประวัติการเจริญเติบโตของยอดขาย และกำไรของผลิตภัณฑ์องค์ประกอบ ของ วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์(PLC)
• ขั้นแนะนำ(Introduction)
• ขั้นเจริญเติบโต(Growth)
• ขั้นอิ่มตัว หรือเติบโตเต็มที่(Maturity)
• ขั้นถดถอย(Decline)
• ขั้นเจริญเติบโต(Growth)
• ขั้นอิ่มตัว หรือเติบโตเต็มที่(Maturity)
• ขั้นถดถอย(Decline)
3. เครื่องมือใช้เพื่ออะไร
เป็นที่มีประโยชน์ทางด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ อย่างมาก เพื่อจะช่วยให้ผู้บริหารมอง ยอดขาย ของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การนำผลิตภัณฑ์ตั้งแต่การนำผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ นำผลิตภัณฑ์ออกจำหน่าย เข้าสู่ ขั้นเจริญเติบโต ข้นเจริญเติบโตเต็มที่ จนกระทั้งถึงขั้นตกต่ำ
4. ข้อดี-ข้อเสีย
ข้อดี : ช่วย ให้นักการตลาดจะต้องวางแผนการตลาดและการสื่อสารการตลาดอย่างดีที่สุดเพื่อ ไม่ให้ผลิตภัณฑ์ของตนต้องลงไปอยู่ในช่วงของขั้นตกต่ำ อันจะนำความเสียหายมาสู่กิจการได้
ข้อเสีย : ผลิตภัณฑ์ อาจเกิดความไม่แน่นอนเสมอไปที่ผลิตภัณฑ์ทุกอย่างจะต้องมีจุดจบตามช่วงวงจร ชีวิตผลิตภัณฑ์เสมอไป บางครั้งผลิตภัณฑ์บางอย่างสามารถเริ่มต้นใหม่ด้วยการหาตำแหน่งใหม่ได้นั่นก็ คือ อยู่ที่กลยุทธ์ของแต่ละกิจการในการรักษาตำแหน่งของผลิตภัณฑ์ของตนเอาไว้ให้ คงอยู่ในระดับช่วงเวลาที่สูงสุดของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ได้ตลอดไป
5.ใช้อย่างไร ตัวอย่าง กาแฟเนเจอกิฟ
• กาแฟลดน้ำหนัก
• ซึ่งมีราคาสูงกว่ากาแฟทั่วไป
• ซึ่งมีราคาสูงกว่ากาแฟทั่วไป
6. กรณีศึกษา : The Pizza
อยู่ใน Product life cycle (PLC) ช่วงอิ่มตัว หรือเจริญเติบโตเต็มที่ พิจารณาจาก ยอดขายเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง ความต้องการของผู้บริโภคเริ่มอิ่มตัว ดูจากตลาดรวมในกรณีศึกษาได้บอกไว้ว่า เริ่มถึงจุดอิ่มตัว ยอดขายจะสูงสุดในขั้นนี้ แต่เนื่องจากเดอะพิซซ่า มีการปรับปรุงโดยใช้กลยุทธทางการตลาด ทั้ง การพัฒนาผลิตภัณท์ ( Product Modified และ การพัฒนาตลาด(Market Development ) ทำให้สามารถสร้างยอดขายได้อย่างต่อเนื่อง เป็นการยืดอายุผลิตภัณท์
ขอบคุณที่มาของข้อมูล
คุณพรรณเพ็ญ สิทธิพัฒนา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น