9.ทฤษฎี Frederick Herzberg
Two Factor Theory ทฤษฏีสองปัจจัย
1.หลักการ/แนวคิด/ประวัติความเป็นมา
- ได้คิดค้นทฤษฎีการจูงใจในการทำงาน ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางในวงการบริหาร ชื่อทฤษฎีของ Herzberg มีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป คือ
- “motivation-maintenance theory”
- “dual factor theory” หรือ “the motivation-hygiene theory”
ได้รับแรงบันดาลใจเรื่องการจูงใจ(
Motivation)
จากการที่ได้มีโอกาสพูดคุยกับชาวเยอรมันที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้ ๆ
ฐาน Dachau
concentration camp และสังคมในละแวกนั้นเป็นกลุ่มคนที่มีระดับการจูงใจสูงมาก
1.
หลักและแนวคิด
q ในการเริ่มต้นค้นคว้าเพื่อสร้างทฤษฎี
Herzberg ได้ดำเนินการสัมภาษณ์นักวิศวกรและนักบัญชี
q ซึ่งจุดมุ่งหมายของการค้นคว้าเพื่อศึกษาทัศนคติที่เกี่ยวกับงานเพื่อที่จะให้มีหนทางเพิ่มผลผลิต
ลดการขาดงาน และสร้างความสัมพันธ์อันดีในการทำงาน เพื่อประโยชน์ทั่วไปสำหรับทุกๆคนก็คือความเข้าใจเกี่ยวกับอิทธิพลต่างๆที่จะมีส่วนช่วยในการปรับปรุงขวัญ
และกำลังใจ ที่จะส่งผลให้ทุกคนมีความสุขกายสบายใจและมีความพึงพอใจมากยิ่งขึ้น
Herzberg ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัย ที่มีผลต่อการทำงานของบุคคลกรในองค์ โดยศึกษา
ถึงทรรศนะคติของบุคคลที่มีต่อการทำงานเพื่อหาทางที่จะลดความไม่พอในในการทำงาน
เพื่อที่ทำให้คนงานมีความรู้สึกที่ดีในการที่จะ
พยายามเสริมสร้างผลผลิตของงานให้มากขึ้น
เขาพบว่าปัจจัยที่มีผลกระทบต่องานออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
v 1.ปัจจัยจูงใจ (Motivation
Factor) เป็นปัจจัยกระตุ้นให้คนทำงาน
โดยเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่ดีที่จะเกิดขึ้น กับพนักงาน
อันจะทำให้พนักงานมีความพึงพอใจเกี่ยวกับกับงานที่ทำ
v 2. ปัจจัยค้ำจุน (Maintenance Factor) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่จะสร้างความไม่พอใจในการทำงานให้กับพนักงาน
ชึ่งจะเป็นตัวสกัดกั้นไม่ให้เกิดแรงจูงใจในการทำงานขึ้นได้
หรือเป็นหัวข้อกำหนดเบื้องต้นที่จะป้องกันมิให้คนไม่พอใจในงานที่ทำอยู่
2.เครื่องนี้คืออะไร / มีองค์ประกอบอะไร
ปัจจัยจูงใจ ( Motivation Factors) คือ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดแรงจูงใจให้คนทำงานอย่าง
มีความสุข และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก
ซึ่งถือว่าเป็น “ปัจจัยภายใน (Intrinsic) ”
ปัจจัยสุขอนามัย (Hygiene Factors) คือ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความพอใจในการทำงานแต่ยังไม่พอที่จะนำไปใช้ในการจูงใจ
ถือว่าเป็น “ ปัจจัยภายนอก (Extrinsic) ”
ปัจจัยจูงใจ(Motivational Factors)
- ค่าตอบแทนและผลประโยชน์
- นโยบายบริษัทและการบริหาร
- ความสัมพันธ์ในหมู่พนักงานด้วยกัน
- สภาพแวดล้อมทางกายภาพในการทำงาน
- การควบคุมดูแลงาน
- สถานภาพ
- ความมั่นคงของงาน
ปัจจัยสุขอนามัย(Hygiene
Factors)
- ความสำเร็จ
- การได้รับการยอมรับ
- ตัวงานที่ทำ
- ความรับผิดชอบ
- การได้รับการเลื่อนตำแหน่ง
- ความเจริญก้าวหน้า
3.ข้อดี/ข้อเสีย
ข้อดี
* เป็นทฤษฎีที่สร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานโดยตรงเพื่อจูงใจให้คนชอบและรักงานปฏิบัติ
เป็นการกระตุ้นให้เกิดความพึงพอใจให้แก่บุคคลในองค์การ ให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
* ปัจจัยที่สามารถสนองตอบความต้องการภายในของบุคคล
ข้อเสีย
เป็นทฤษฎีที่ใช้ได้กับกลุ่มอาชีพที่มีฐานะตำแหน่งสูง
เช่น วิศวกรหรือนักบัญชี กรณีการนำไปใช้กับพนักงานระดับต่ำลงไปหรือพนักงานสตรี และ
ณ ระดับของพนักงานประจำวัน จะไม่ค่อยได้ผลลัพธ์ที่น่าพึ่งพอใจ
4. เครื่องมือนี้ใช้เพื่ออะไร
งานที่สร้างแรงจูงใจที่แท้จริง ตามแนวคิดของ Herzberg
• งานที่ดีจะต้องมีความท้าทายเพื่อกระตุ้นให้พนักงานได้ใช้ความสามารถ
• พนักงานที่มีความสามารถสูงขึ้นจะต้องได้รับงานที่มีความรับผิดชอบสูงขึ้นด้วยเช่นกัน
• หากงานที่มีอยู่ไม่เหมาะสมกับความสามารถของพนักงานจะต้องมีการพิจารณาโดยเร่งด้วยหรือหาพนักงานมีความสามารถต่ำมาทำงานแทน
แต่หากพนักงานไม่ปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถนั้น แสดงว่าเกิดปัญหาด้านการจูงใจ
5.ใช้อย่างไร(หรือจัดทำอย่างไร)
ปัจจัยสุขอนามัย(Hygiene
Factors)
- ความสำเร็จ
- การได้รับการยอมรับ
- ตัวงานที่ทำ
- ความรับผิดชอบ
- การได้รับการเลื่อนตำแหน่ง
- ความเจริญก้าวหน้า
ปัจจัยจูงใจ (Motivational
Factors)
- ค่าตอบแทนและผลประโยชน์
- นโยบายบริษัทและการบริหาร
- ความสัมพันธ์ในหมู่พนักงานด้วยกัน
- สภาพแวดล้อมทางกายภาพในการทำงาน
- การควบคุมดูแลงาน
- สถานภาพ ความมั่นคงของงาน
6.ใช้อย่างไร(หรือจัดทำอย่างไร)
โดยสรุป Herzberg
ได้ให้ความเข้าใจว่า
แรงจูงใจเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาจากแต่คนและจะมิใช่ขึ้นอยู่กับผู้บริหารโดยตรง
และปัจจัยที่ใช้ในการบำรุงจิตใจนั้นอย่างดีที่สุดก็คือ
จะสามารถช่วยขจัดความไม่พอใจต่างๆได้ แต่จะไม่สามารถสร้างความพึ่งพอใจได้ ดังนั้น
ในกระบวนการจูงใจที่ต้องการสร้างให้เกิดแรงจูงใจที่ดี
จึงจำเป็นต้องจัดและกำหนดปัจจัยต่างๆทั้งสองกลุ่ม คือ ทั้งปัจจัยที่ใช้บำรุงจิตใจ
(สภาพแวดล้อม) และปัจจัยที่ใช้จูงใจได้ (ของงานที่ทำ) ทั้งสองอย่างพร้อมกัน
7.มีใครนำเครื่องมือไปใช้บ้าง และได้ผลอย่างไร
* ชูยศ
ศรีวรขันธ์ (2552) นำ แนวคิดของ Frederick
Herzberg ในการทำวิจัย
เรื่องปัจจัยแรงจูงใจต่อผลการปฏิบัติงาน:กรณีศึกษา ขององค์การบริหารส่วนตาบล
เขตอาเภอเมือง จ.นครราชสีมา
ผลการวิจัยพบว่า
บุคลากรในท้องถิ่นมีความพึงพอใจในการทางานมากจะส่งผลให้ประสิทธิภาพการทางานขององค์กรเพิ่มขึ้น
แต่จะไม่พึงพอใจในการได้รับเงินค่าตอบอื่นเป็นกรณีพิเศษ เท่าที่ควร
และได้สะท้อนให้เห็นปัญหาการได้รับเงินค่าตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ(โบนัส)
ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม
และการขาดมาตรฐานในการประเมินผลงานขององค์การบริหารส่วนตาบลที่เกี่ยวกับวิธีการและขั้นตอนต่างๆต้องได้รับการปรับปรุงและแก้ไขในส่วนที่บกพร่องและทาให้เกิดปัญหาเพื่อแก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีกในอนาคต
มีใครนำเครื่องมือไปใช้บ้าง
และได้ผลอย่างไร
* อุทัย
หอมนาน , ผณินทรา ธีรานนท์,ฉลองรัฐ
เจริญศรี
บทความวิชาเรื่องขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการพัฒนำชุมชนจังหวัดเชียงราย
• ประยุกต์ใช้แนวคิด
ทฤษฎีจูงใจหรือทฤษฎี 2 ปัจจัยของเฟรดเดอริก เฮิร์ซเบอร์ก (Frederick
Herzberg) โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามที่สร้างขึ้น
เก็บข้อมูลจากข้าราชการพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย จานวน 109 คน ผลการศึกษาพบว่า
ข้าราชการพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงรายมีขวัญและกาลังใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ทั้งนี้ปัจจัยสุขอนามัย จานวน 8 ด้าน มีขวัญและกาลังใจแตกต่างกันเป็น 2 ระดับ
กล่าวคือ ขวัญและกาลังใจระดับ มากมีจานวน 4 ด้าน คือ ด้านการบังคับบัญชา
ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ด้านสถานภาพและด้านความเป็นอยู่ส่วนบุคคล ส่วนขวัญและกาลังใจระดับปานกลางมีจานวน
4 ด้านคือ ด้านสภาพการทางาน ด้านค่าจ้าง เงินเดือนและสวัสดิการ
ด้านความมั่นคงในหน้าที่การงาน และด้านนโยบายองค์การ ส่วนปัจจัยจูงใจ จานวน 6 ด้าน
ข้าราชการพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงรายมีระดับขวัญและกาลังใจเป็น 2 ระดับ คือ ระดับมาก
จานวน 5 ด้านประกอบด้วย ด้านความสาเร็จของงาน ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ
ด้านความรับผิดชอบ ด้านลักษณะงาน
และด้านการพัฒนาตนเองส่วนด้านโอกาสก้าวหน้าในหน้าที่การงาน มีขวัญและกาลังใจระดับ
ปานกลาง
กรณีศึกษา บริษัท
ตันไม่ตัน จำกัด, Bathroom Design, บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จำกัด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น