Framework Management Tool Box: Organizing
16. Re-engineering
1. หลักการ / แนวคิด / ประวัติความเป็นมา
Michael Hammer and James Champy
แนวความคิดของของ Adam Smith ไม่เหมาะสมกับสภาพธุรกิจปัจจุบัน ด้วยสภาวการณ์ต่าง ๆ ได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจากปัจจัยผันแปร 3 ประการ (3C)
1. ความสำคัญของลูกค้า (Customer)
2. สภาพการแข่งขัน (Competition)
3. การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง (Change)
Michael Hammer and James Champy ได้นิยามอย่างเป็นทางการของคำว่า “REENGINEERING” ไว้ในหนังสือ “รีเอ็นจิเนียริ่ง เดอะ คอร์ปอเรชั่น” ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 2536 ว่า
“รีเอ็นจิเนียริ่ง” (Reengineering) หมายถึง “การพิจารณาหลักการพื้นฐานและการคิดแบบขึ้นใหม่ชนิดถอนรากถอนโคนของกระบวนการธุรกิจเพื่อบรรจุซึ่งผลลัพธ์ของการปรับปรุงอันยิ่งใหญ่ โดยใช้มาตรวัดผลการปฏิบัติงานที่ทันสมัยและสำคัญที่สุด ซึ่งได้แก่ ต้นทุน คุณภาพ การบริการและความรวดเร็ว” คำนิยามศัพท์ที่เป็นหัวใจหลักสี่คำด้วยกัน
Michael Hammer and James Champy
แนวความคิดของของ Adam Smith ไม่เหมาะสมกับสภาพธุรกิจปัจจุบัน ด้วยสภาวการณ์ต่าง ๆ ได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจากปัจจัยผันแปร 3 ประการ (3C)
1. ความสำคัญของลูกค้า (Customer)
2. สภาพการแข่งขัน (Competition)
3. การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง (Change)
Michael Hammer and James Champy ได้นิยามอย่างเป็นทางการของคำว่า “REENGINEERING” ไว้ในหนังสือ “รีเอ็นจิเนียริ่ง เดอะ คอร์ปอเรชั่น” ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 2536 ว่า
“รีเอ็นจิเนียริ่ง” (Reengineering) หมายถึง “การพิจารณาหลักการพื้นฐานและการคิดแบบขึ้นใหม่ชนิดถอนรากถอนโคนของกระบวนการธุรกิจเพื่อบรรจุซึ่งผลลัพธ์ของการปรับปรุงอันยิ่งใหญ่ โดยใช้มาตรวัดผลการปฏิบัติงานที่ทันสมัยและสำคัญที่สุด ซึ่งได้แก่ ต้นทุน คุณภาพ การบริการและความรวดเร็ว” คำนิยามศัพท์ที่เป็นหัวใจหลักสี่คำด้วยกัน
2. องค์ประกอบ ประกอบด้วยปัจจัย 4 ประการ
- ปัจจัยที่ 1 : พื้นฐาน (Fundamental)
- ปัจจัยที่ 2 : ถอนรากถอนโคน (Radical)
- ปัจจัยที่ 3 : ยิ่งใหญ่ (Dramatic)
- ปัจจัยที่ 4 : กระบวนการ (Processes)
- ปัจจัยที่ 2 : ถอนรากถอนโคน (Radical)
- ปัจจัยที่ 3 : ยิ่งใหญ่ (Dramatic)
- ปัจจัยที่ 4 : กระบวนการ (Processes)
3. เครื่องมือนี้ใช้เพื่ออะไร
- ใช้เพื่อยกระดับโครงสร้างขององค์กร
- ใช้เพื่อปรับกระบวนการทำงาน การไหลของข้อมูล (work flow)
- ใช้เพื่อการปรับภาพลักษณ์องค์กร
- สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้ามากขึ้น
4. ข้อดีและข้อเสียของ Re - engineering
ข้อดี :
- สามารถลดขั้นตอน ทำงานได้หลาย ๆ ช่วงการบังคับบัญชาสั้นลง
- ด้านอำนาจและความรับผิดชอบ ทำให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจมากขึ้น
- ก่อให้เกิดการขยายงานอย่างเป็นระบบ เกิดความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น
- ก่อให้เกิดการประหยัดในการดำเนินการทั้งต้นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม
- มุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้าเป็นสำคัญอันจะนำไปสู่ให้ลูกค้าพึงพอใจมากขึ้น
- เจ้าหน้าที่หรือพนักงานสามารถทำงานได้อย่างเป็นอิสระมากขึ้น
- ใช้เพื่อปรับกระบวนการทำงาน การไหลของข้อมูล (work flow)
- ใช้เพื่อการปรับภาพลักษณ์องค์กร
- สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้ามากขึ้น
4. ข้อดีและข้อเสียของ Re - engineering
ข้อดี :
- สามารถลดขั้นตอน ทำงานได้หลาย ๆ ช่วงการบังคับบัญชาสั้นลง
- ด้านอำนาจและความรับผิดชอบ ทำให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจมากขึ้น
- ก่อให้เกิดการขยายงานอย่างเป็นระบบ เกิดความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น
- ก่อให้เกิดการประหยัดในการดำเนินการทั้งต้นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม
- มุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้าเป็นสำคัญอันจะนำไปสู่ให้ลูกค้าพึงพอใจมากขึ้น
- เจ้าหน้าที่หรือพนักงานสามารถทำงานได้อย่างเป็นอิสระมากขึ้น
ข้อเสีย :
- จะใช้เงินลงทุนสูง
- การใช้เวลาในการวิเคราะห์กระบวนการใช้ระยะเวลานานเกินไป
- เกิดแรงต่อต้าน
- การใช้เวลาในการวิเคราะห์กระบวนการใช้ระยะเวลานานเกินไป
- เกิดแรงต่อต้าน
5. ขั้นตอนในการทำ Re-engineering
1. Re-think คิดแบบใหม่เพื่อค้นหารากเหง้าของปัญหา
2. Re-design ออกแบบกระบวนการทำงานใหม่
3. Re-tool นำอุปกรณ์เทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้เพื่อตอบสนองงานแบบใหม่
4. Re-train ฝึกอบรมบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการทำงานแบบใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. Re-design ออกแบบกระบวนการทำงานใหม่
3. Re-tool นำอุปกรณ์เทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้เพื่อตอบสนองงานแบบใหม่
4. Re-train ฝึกอบรมบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการทำงานแบบใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6. มีใครนำเครื่องมือนี้ไปใช้บ้างและได้ผลสรุปอย่างไร / กรณีศึกษา
ธนาคารกสิกรไทย ต้องการเป็นธนาคารที่ให้บริการครบวงจร (Universal Banking) จึงมีการนำ Reengineering มาใช้ โดยให้ความสำคัญกับการตอบสนองความต้องการของลูกค้า การบริการที่รวดเร็ว มีการเปิดตัวกลุ่มทางการเงิน "K Excellence" ได้จัดแบ่งสายงานใหม่ออกเป็น 8 สายงาน (ปัจจุบันมีทั้งหมด 12 สายงาน) แบ่งกลุ่มลูกค้าใหม่ (Segmentation) ออกเป็น 7 กลุ่ม และภายใต้การยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง (Customer Centricity) ธนาคารยังเลือกแบ่งกลุ่มผลิตภัณฑ์ (Product Domain) ออกเป็น 4 กลุ่ม เพื่อสะดวกต่อการนำเสนอที่ก่อประโยชน์สูงสุดกับลูกค้าแต่ละกลุ่ม ที่ สำคัญที่ธนาคารได้ทำการปรับเปลี่ยนครั้งใหญ่ ก็เรื่องชื่อของธนาคาร เพื่อไม่ให้ลูกค้าต่างชาติ หรือ นักธุรกิจต่างชาติ เข้าใจผิด คิดว่า ธนาคารกสิกรไทย เป็นธนาคารเพื่อกสิกร หรือ ชาวนาเท่านั้น ทางธนาคารกสิกรไทยจึงได้ปรับเปลี่ยนชื่อเรียกธนาคารใหม่ในภาษาอังกฤษว่า ธนาคารกสิกรไทย Kasikorn Thai Bank หรือพยายามใช้ชื่อย่อว่า K-Bank โดยพยายามเน้นที่ตัว K ซึ่งก็คือ กสิกร ให้มีความโดดเด่น ผู้เขียนคาดว่าในอนาคต ธนาคารกสิกรไทย อาจจะปรับเปลี่ยนอีก โดยเรียกเป็น เค-แบงก์ แทนกสิกรไทยเลย จะได้ไม่มีคราบของธนาคารชาวนาหลงเหลืออยู่
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น